• Welcome to ลงประกาศฟรี โปรโมทเว็บ SEO SMF PBN.
 

เช็คด่วน! ปวดท้องแต่ละจุด เสี่ยงเป็นโรคอะไร?

Started by ButterBear, Dec 14, 2024, 10:18 AM

Previous topic - Next topic

ButterBear

"ปวดท้อง"  อาการใกล้ตัว  ที่ใคร ๆ ก็ต้องเคยเจอ    และรู้หรือไม่ว่า อาการปวดท้อง นั้น   สามารถ  เป็นสัญญาณ  ถึงโรคต่าง ๆ    ที่ซ่อนอยู่     ซึ่งสังเกตได้จาก  ตำแหน่งของอาการปวด 

บทความนี้จะพาคุณไป สำรวจ   อาการปวดท้องแต่ละตำแหน่ง พร้อม   ไขข้อข้องใจว่า ปวดแบบนี้   เสี่ยงเป็นโรคอะไร? 

 7 ตำแหน่งปวดท้อง   บอกโรคอะไรได้บ้าง?

 1.  จุกใต้ซี่โครงขวา 
 นิ่วในถุงน้ำดี  :  ปวดบิดรุนแรงเป็นพัก ๆ  คลื่นไส้   ตัวเหลือง ตาเหลือง
 กรวยไตขวาอักเสบ  :  ปวดร้าวไป   เอว   ข้างขวา  ปัสสาวะ   แสบ

 2. ปวดท้องขวาล่าง  
 ไส้ติ่งอักเสบ  :  เริ่มจาก  ปวดลิ้นปี่  แล้วเลื่อนมาปวดขวาล่าง   ปวดรุนแรง 
  ปีกมดลูกขวาอักเสบ  :  ปวด ช่วงมีประจำเดือน   ตกขาวผิดปกติ

 3.  จุกใต้ซี่โครงซ้าย 
  กระเพาะอาหารอักเสบ :  ปวด  จุกแน่น   หลัง  อาหาร   อาหารไม่ย่อย
 ตับอ่อนอักเสบ  :  ปวดรุนแรง ร้าวไปหลัง
 กรวยไตซ้ายอักเสบ  :  ปวดร้าวไป หลัง   ข้างซ้าย  ปัสสาวะ   แสบ

 4.  ปวดท้องน้อยข้างซ้าย 
  ลำไส้แปรปรวน :  ปวด บิด   ท้องเสีย   มีไข้
 ปีกมดลูกซ้ายอักเสบ  :  ปวด  ขณะมีเพศสัมพันธ์  ตกขาวผิดปกติ

 5. ปวดท้องกลาง  
  หัวใจวาย :   แน่นหายใจไม่ออก  เหงื่อออก  ร้าวไปกราม
 โรคกระเพาะอาหาร  :  ปวด  จุกแน่น  เรอเปรี้ยว
 นิ่วในถุงน้ำดี :  ปวดบิดรุนแรงเป็นพัก ๆ  คลื่นไส้ อาเจียน  ตัวเหลือง ตาเหลือง

 6.  ปวดกลางท้อง  
  ลำไส้แปรปรวน :  ปวด  เกร็ง  ท้องเสีย  ถ่ายเป็นมูกเลือด
 ไส้ติ่งอักเสบ :  เริ่มจาก  ปวดลิ้นปี่  แล้วเลื่อนมาปวดขวาล่าง  กดเจ็บ  

 7.  ปวดหน่วงท้องน้อย 
 กระเพาะปัสสาวะอักเสบ :  ปวด  ปัสสาวะบ่อย  ปัสสาวะ   มีกลิ่นแรง
 มดลูกอักเสบ  :  ปวด ประจำเดือน    มีเลือดออก

   สัญญาณอันตราย ปวดท้อง ห้ามละเลย!

  ถึงแม้ว่า   อาการปวดท้องบางครั้งอาจ  ไม่ได้ร้ายแรง   แต่ถ้าคุณมีอาการ ดังต่อไปนี้   ควรรีบไปพบแพทย์   โดยเร็วที่สุด
 ปวดท้องรุนแรง  ทรมาน
 ปวดท้องต่อเนื่องนานเกิน   ครึ่งวัน
 ปวดท้อง รบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน
 มีไข้สูง   ร่วมกับปวดท้อง
  คลื่นไส้  รุนแรง
 ถ่ายเป็นเลือด
  เบื่ออาหาร  โดยไม่ทราบสาเหตุ

  ทั้งนี้   การไปพบแพทย์ ตั้งแต่เนิ่น ๆ   เมื่อมีอาการผิดปกติ   ช่วยลดความเสี่ยง  และ   หลีกเลี่ยง   ภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้
อ่านต่อได้ที่ https://www.vimut.com/article/abdominal-pain